โดย รศ.นพ.ศิระ เลาหทัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ทรวงอกเฉพาะทางด้านการผ่าตัดส่องกล้องในช่องทรวงอกโรงพยาบาลวชิรพยาบาล เมื่อไม่นานมานี้ ผมได้เจอเคสผู้ป่วยหญิงอายุราว 40 ปี มารักษาด้วยอาการเจ็บแน่นหน้าอก เป็น ๆ หาย ๆ อยู่หลายครั้ง แต่ไม่รู้สึกเหนื่อย รู้สึกว่าเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกทุกครั้ง มักจะเป็นในช่วงขณะมีประจำเดือน จึงมีอยู่ช่วงหนึ่งมีอาการเจ็บหน้าอกมากจึงรีบมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หลังจากการตรวจสอบเอกซเรย์ พบว่าเป็นโรคลมรั่วในเยื่อหุ้มปอด ซึ่งมีโอกาสเสียชีวิตสูงหากไม่ทำการรักษา จึงรีบรับการรักษาตัวเข้าโรงพยาบาล ซึ่งโดยปกติแล้วโรคลมรั่วในเยื่อหุ้มปอดจะมีจาก 3
สุขภาพ-ความงาม
สุขภาพ-ความงาม
ไขข้อข้องใจโรคไส้เลื่อน
โดย นพ.ศิรสิทธิ์ เลาหทัย ศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านการผ่าตัดส่องกล้องขั้นสูง ใครที่กำลังคิดว่า ไม่ใส่กางเกงชั้นในแล้วจะเป็นไส้เลื่อนแล้วล่ะก็…. ขอให้ลืมความเชื่อผิด ๆนั้นไปได้เลยครับ … โรคไส้เลื่อน (Hernia) เกิดจากผนังหน้าท้องของเราไม่แข็งแรง ทำให้เกิดเป็นช่องว่างจนมีอวัยวะภายในช่องท้องยื่นออกมาได้ โดยส่วนใหญ่จะพบได้ในบริเวณขาหนีบ (Inguinal hernia) และบริเวณผนังหน้าท้อง (Ventral hernia) โดยสิ่งที่สามารถยื่นออกมาสามารถเป็นได้ตั้งแต่ไขมันภายในช่องท้อง ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ไปจนถึงกระเพาะปัสสาวะ ส่วนโรคไส้เลื่อนชนิดอื่น
สธ. ตั้งเป้า รพ.รัฐทุกแห่งได้รับมาตรฐานสถานพยาบาลแห่งชาติ HS4 ยกระดับบริการสร้างความเชื่อมั่นประชาชน
สธ. ตั้งเป้า รพ.รัฐทุกแห่งได้รับมาตรฐานสถานพยาบาลแห่งชาติ HS4 ยกระดับบริการสร้างความเชื่อมั่นประชาชนปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปิดงานขับเคลื่อนมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ “HS4 ก้าวย่างอย่างยิ่งใหญ่สู่มาตรฐานแห่งชาติ” มุ่งยกระดับสถานพยาบาลภาครัฐ สู่สถานพยาบาลต้นแบบ เพิ่มศักยภาพแข่งขันในระดับสากล ปัจจุบันมีสถานพยาบาลภาครัฐทุกสังกัดได้รับมาตรฐาน HS4 แล้ว 1,074 แห่ง หรือร้อยละ 97.6 ตั้งเป้าให้สถานพยาบาลรัฐผ่านเกณฑ์มาตรฐานครบทุกแห่ง เพื่อประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย ส่งเสริมประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพโลก วันนี้ (17 มีนาคม
อย่าเพิ่งกังวลเมื่อเจอจุดที่ปอดในเอกซเรย์
โดย รศ.นพ.ศิระ เลาหทัยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ทรวงอกเฉพาะทางด้านการผ่าตัดส่องกล้องในช่องทรวงอกโรงพยาบาลวชิรพยาบาลหลายครั้งที่เราไปตรวจสุขภาพ เจอฝ้าขาว หรือ เช็คอัพ มีผลอ่านรังสีวินิจฉัยเจอความผิดปกติในฟิลม์เอ็กซเรย์ปอด ทั้งทึ่เรายังไม่มีอาการผิดปกติใด ๆ โดยสิ่งที่สำคัญที่สุดเราต้องหาสาเหตุของจุดที่เกิดขึ้นมีจริงหรือไม่ โดยวิธีการที่หาสาเหตุที่ดีที่สุดคือการทำเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan) การทำเอ็กซเรย์ซ้ำ มักไม่มีประโยชน์ เนื่องจากการทำฟิล์มเปรียบเสมือนการถ่าย 2 มิติ เห็นแค่ด้านหน้า-หลัง ส่งผลทำให้เกิดผลภาพลวงได้บ่อย เปรียบเทียบกับการทำเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) เป็นการตัดภาพละเอียดสูง ซึ่งเป็นภาพ
โรงพยาบาลพระรามเก้า คว้ารางวัลระดับโลกTHE STAR OF EXCELLENCE FOR ULTHERAPY TRANSDUCER 2024 สะท้อนความสำเร็จการดูแลผิวพรรณอย่างเหนือระดับ
ปรบมือดัง ๆ ให้กับความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ของ โรงพยาบาลพระรามเก้า ที่ล่าสุดทีมแพทย์จากศูนย์ผิวหนังและศัลยกรรมตกแต่ง คว้ารางวัล THE STAR OF EXCELLENCE FOR ULTHERAPY TRANSDUCER 2024 ในงาน A Decade of Merz Aesthetics Gala ที่จัดขึ้น ณ Royal
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ผนึกกำลังมูลนิธิรักษ์ตับ จัด Voice of Liver ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 4
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับมูลนิธิมะเร็งตับ ร่วมกันจัดงาน Voice of Liver ฟังเสียงตับ รับมือมะเร็ง ครั้งที่ 4 บูรณาการความร่วมมือเอาชนะมะเร็งตับ รวมพลัง ฟังเสียงผู้ป่วย ช่วยสร้างโอกาสในการรักษาและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สำหรับผู้ป่วยมะเร็งตับระยะลุกลาม เนื่องในโอกาสวันมะเร็งโลก 2568 โดยมี ศ.เกียรติคุณ นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รักษาการรองเลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์
มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ผู้หญิงต้องระวัง!!ปกป้องตัวเองจากมะเร็งก่อนจะสายเกินไป
มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก… โรคฮิตที่พบมากที่สุดในผู้หญิงไทย โดยในแต่ละปีพบผู้หญิงไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมเฉลี่ยปีละ 20,000 ราย นอกจากนี้ยังพบว่า “มะเร็งปากมดลูก” คือศัตรูตัวร้ายที่คร่าชีวิตผู้หญิงไทยปีละ 2,000 ราย! อย่าปล่อยให้โรคร้ายซ่อนตัวคอยทำลายสุขภาพคุณและคนที่คุณรัก โรงพยาบาลพระรามเก้า ขอเชิญชวนผู้หญิงทุกคนมาตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง ก่อนจะสายเกินแก้ ด้วยแพ็กเกจตรวจคัดกรอง 2 โรคมะเร็งในราคาสุดพิเศษ! ตรวจครบจบทั้งมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เช่น อย่ารอให้ร่างกายส่งสัญญาณผิดปกติ! เพราะการตรวจสุขภาพประจำปีช่วยให้พบโรคตั้งแต่ระยะเริ่มต้น เพิ่มโอกาสรักษาให้หายขาดได้สูง สุขภาพที่ดีเริ่มต้นจากการดูแลตัวเองอย่างสม่ำเสมอ สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่
รพ.อาร์เอสยู อินเตอร์เนชั่นเนล ลงนาม บ. พรีบิลท์ จํากัด (มหาชน)เปิดตัว VISTA NEO MED โรงพยาบาลวิถีใหม่สำหรับอนาคต
โรงพยาบาล อาร์เอสยู อินเตอร์เนชั่นเนล ได้จัดพิธีลงนามสัญญาการก่อสร้างหลักกับบริษัท พรีบิลท์ จํากัด (มหาชน) และสัญญาว่าจ้างระบบสัญจรแนวดิ่งกับบริษัท โคเน่ จำกัด (มหาชน) ในวันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต โดย ดร. อาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานกรรมการ และคุณอภิวัฒิ
ถ้าป่วยเป็นมะเร็งปอดผมจะรอดมั้ยครับ?
รศ.นพ.ศิระ เลาหทัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ ทรวงอกเฉพาะทางด้านการผ่าตัดส่องกล้องในช่องทรวงอก โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในยุคฝุ่น PM.25 มหันตภัยด้านมลพิษคุกคามคนไปทั่วโลก ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงจากโรคมะเร็งปอดมากขึ้น … ผู้ป่วยเข้ามารับการรักษามากขึ้น อีกทั้งยังพบผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่มีอายุที่น้อยลงมากขึ้นเรื่อย ๆ ปัจจุบันมีคำถามยอดฮิต เช่น ผมเจอมะเร็งปอด แล้วผมอยู่นานรึเปล่า?,หรือจะมีโอกาสรอดหรือมั้ย ? จากสถิติของข้อมูลจากสถาบันมะเร็งนานาชาติ พบว่าหนึ่งในโรคมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในโลก คือ “มะเร็งปอด” และมีอัตราการตายจากโรคมะเร็งที่สูงที่สุด
จับตา “จัดเก็บภาษีความเค็ม”ขนมขบเคี้ยวเพิ่มทางเลือกสุขภาพ ลดเสี่ยงโรค NCDsโดย รศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม
จากกรณีที่กรมสรรพสามิตมีแผนที่จะจัดเก็บภาษีความเค็มเนื่องจากคนไทยติดการบริโภคเค็มมากเกินไป โดยเริ่มจากสินค้าขนมขบเคี้ยวก่อน ซึ่งจะมีความชัดเจนในปี 2568 นี้ โดยกลุ่มขนมขบเคี้ยวจะถูกเก็บตามปริมาณโซเดียมต่อผลิตภัณฑ์ในอัตราภาษีแบบขั้นบันได โดยหวังให้ประชาชนบริโภคความเค็มลดน้อยลง โดยจะดำเนินการจัดเก็บภาษีความเค็มในรูปแบบเดียวกับภาษีความหวานซึ่งบังคับใช้ในประเทศไทยก่อนหน้านี้ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาและส่งผลให้ประชาชนลดการบริโภคน้ำตาลลงชัดเจน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการธุรกิจ โดยรัฐตั้งเป้าหมายให้คนไทยลดการบริโภคเค็มให้ได้ร้อยละ 30 โดยก่อนหน้านี้ทางกระทรวงการคลังได้มีนโยบายและมอบหมายให้กรมสรรพสามิตไปศึกษาเรื่องกลไกการเก็บภาษีความเค็มในบางสินค้าที่มีอยู่ โดยเฉพาะการควบคุมสินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว ซึ่งเป็นสินค้าที่ไม่กระทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ ซึ่งเป้าหมายหลัก ๆ ของกระทรวงการคลังต้องการจะดูแลเรื่องสุขภาพของคนไทย ซึ่งจากข้อมูล 10 ปีที่ผ่านมา คนไทยก็ยังบริโภคเค็ม ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขก็มีนโยบายเป็นหลักยุทธศาสตร์ที่จะพยายามให้คนไทยลดการบริโภคเค็มลง สอดคล้องกับ นพ.กฤษฎา